Kanchanaburi sweet corn product package
งานออกแบบส่วนบุคคลวิชา Arti3314การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
โดย
วีนัส อำ่สุ่น
รหัส 5221307662 กลุ่ม 201
Contact E-mail : venusamso@gmail.com
Publish Blog: http://venus-arti3314.blogspot.com/
ข้าวโพดหวาน
sweet corn
ที่มา : http://www.thedailygreen.com8
1.การสืบค้น Research
ข้าวโพด Sweet Corn
ลักษณะทางพฤษศาสตร์
ช่อดอกตัวเมียอยู่ต่ำลงมาอยู่ระหว่างกาบของใบและ
ลำต้นฝัก เกิดจากดอกตัวเมียที่เจริญเติบโตแล้ว ฝักอ่อน
จะมีสีเขียวพอแก่เป็นสีนวล
ผลผลิตเฉี่ยข้าวโพดหวาน
งานวิจัยจากสำนักงานเศราฐกิจการเกษร จำนวน 4 พันธ์ุ อยู่ระหว่าง 1,500 - 1,950 กก./ ไร่ เกษรกรอยู่ระหว่าง 1.200-1,300 กก./ไร่
การเลือกพันธุ์ข้าวโพดหวานที่เป็นพันธุ์ส่งเสริม
แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้คือ
1. พันธุ์ผสมเปิด ได้แก่ ฮาวายเอี้ยนซูการ์ซุปเปอร์สวีท ซุปเปอร์สวีทดีเอ็มอาร์
และไทยซุปเปอร์คอมพอสิต 1 ดีเอ็มอาร์
ประโยชน์ของข้าวโพด
1.ใช้เป็นอาหารมนุษย์
การแปรรูปข้าวโพดหวาน
ผลิตภัณฑ์ที่จะนำมาพัฒนา
ส่วนผสม
ประเภทที่มีจำหน่ายทั่วไป
ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋องมี
ข้าวโพดหวานเป็นพืชอายุสั้น สามารถทำรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกในระยะสั้นได้ โดยข้าวโพดนั้นจะมีอายุการเก็บเกี่ยวที่ประมาณ 75 วัน ดังนั้นข้าวโพดหวานจึงนับว่าเป็น พืชเศรษฐกิจที่สำคัญต่อไปในอนาคต
ข้าวโพดหวาน (Sweet Corn) เป็นข้าวโพดที่คนใช้รับประทาน ไม่มีการแปรรูป เมล็ดมักจะใสและเหี่ยวเมื่อแก่เต็มที่ เพราะมีน้ำตาลมาก ก่อนที่จะสุกจะมีรสหวานมากกว่า ชนิดอื่น ๆ จึงเรียกข้าวโพดหวาน มีหลายสายพันธุ์
ประเทศไทยส่งออกข้าวโพดหวานแบบแปรรูปและแช่แข็งไปยังตลาดโลกและตลาด ในประเทศญี่ปุ่น ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประเทศไทยส่งออกข้าวโพดหวานสู่ตลาดโลกก็เนื่องจาก ตลาดต้องการข้าวโพดหวานเกษตรอินทรีย์ นอกจากนี้ตลาดในสหภาพยุโรปยังมีความ เข้มงวดในการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง ด้วยวิทยาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้ประเทศไทยสามารถเพาะปลูกข้าวโพดหวานเกษตรอินทรีย์ เพื่อนำไปแปรรูปในตลาด เดิมและส่งออกข้าวโพดหวานเกษตรอินทรีย์แบบฝักด้วยการบรรจุถุงสุญญากาศ ข้าวโพด เกษตรอินทรีย์ของไทยตรงตามมาตรการเกษตรอินทรีย์สากล และมีความปลอดภัยจาก สารพิษตกค้าง(zero-detection of agricultural chemical residues) (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2554)
ที่มา:http://organic-agriculture.orgลักษณะทางพฤษศาสตร์
ข้าวโพดเป็นพืชอยู่ใน ตระกูล Gramineae ซึ่งเป็นตระกูลเดียวกับหญ้าหรือข้าว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zeamays Line var. rugasa หรือ saccharata มีลำต้นตั้งตรง แข็งแรง เนื้อภายในฟ่ามคล้ายฟองน้ำ สูงประมาณ 1.4 เมตรใบจะเป็นเส้นตรงปลายแหลมยาว ประมาณ 30-100 ซม. เส้นกลางของใบจะเห็นได้ชัด ตรงขอบใบมีขนอ่อนๆดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่ในต้น
เดียวกัน ช่อดอกตัวผู้อยู่ส่วนยอดของลำต้นช่อดอกตัวเมียช่อดอกตัวเมียอยู่ต่ำลงมาอยู่ระหว่างกาบของใบและ
ลำต้นฝัก เกิดจากดอกตัวเมียที่เจริญเติบโตแล้ว ฝักอ่อน
จะมีสีเขียวพอแก่เป็นสีนวล
ถิ่นกำเนิด
มีการขุดพบซังข้าวโพดและซากของต้นข้าวโพดที่ใกล้แม่น้ำในนิวเม็กซิโก (แถบอเมริกาใต้) และปัจจุบันนิยมปลูกแพร่หลายในแถบอเมริกา แคนาดา สามารถปลูกได้ ในสภาพที่ภูมิอากาศแตกต่างกันมาก ๆ เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของสัตว์ เพราะสามารถนำ มาเลี้ยงสัตว์ได้ทั้งต้น ใบ และเมล็ด
ที่มา:http://th.wikipedia.orgผลผลิตเฉี่ยข้าวโพดหวาน
งานวิจัยจากสำนักงานเศราฐกิจการเกษร จำนวน 4 พันธ์ุ อยู่ระหว่าง 1,500 - 1,950 กก./ ไร่ เกษรกรอยู่ระหว่าง 1.200-1,300 กก./ไร่
ที่มา:http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=20&s=tblplant
การเลือกพันธุ์ข้าวโพดหวานที่เป็นพันธุ์ส่งเสริม
แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้คือ
1. พันธุ์ผสมเปิด ได้แก่ ฮาวายเอี้ยนซูการ์ซุปเปอร์สวีท ซุปเปอร์สวีทดีเอ็มอาร์
และไทยซุปเปอร์คอมพอสิต 1 ดีเอ็มอาร์
จุดเด่นคือเกษตรกรสามารถเก็บเมล็ดใช้ทำพันธุ์ต่อได้
จุดด้อย ลักษณะทางการเกษตรไม่สม่ำเสมอ
2. พันธุ์ลูกผสม ได้แก่ เอทีเอส 2, เอทีเอส 5, ซูการ์ 73, ซูการ์ 74, ซูการ์ 75, ไฮบริกซ์ 3, ไฮบริกซ์ 10, อินทรี 2, สองสี 58, สองสี 39 ,ทวิวรรณ 2, หวานดัชนนี,พันธุ์หวานทอง จุดเด่น ลักษณะทางการเกษตรสม่ำเสมอ ได้แก่ ความสูงของต้น ความสูงของฝัก ขนาดฝัก อายุวันออกไหมและเก็บเกี่ยวพร้อมกัน โดยให้ผลผลิตสูงตั้งแต่ 1.5 - 2 ตัน
จุดด้อย ไม่สามารถเก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์ได้(ปัญญา,ม.ป.ป.)
ประโยชน์ของข้าวโพด
1.ใช้เป็นอาหารมนุษย์
ในประเทศไทยประชาชนนิยมรับประทานฝักสดของข้าวโพดหวานข้าวโพดข้าวเหนียว และข้าวโพดไร่ โดยการต้มหรือเผาให้สุกเสียก่อนนอกจากนั้นฝักอ่อนของข้าวโพด ยังนิยม รับประทานกันอย่างแพร่หลาย นับเป็นผักชนิดหนึ่งที่นำมาปรุงอาหาร นอกจากจะรับประทาน ในประเทศแล้วยังบรรจุกระป๋องส่งไปจำหน่ายยังต่างประเทศ เป็นอุตสาหกรรมชนิดหนึ่งด้วย
ประชาชนในบางประเทศ อาศัยบริโภคข้าวโพดเป็นอาหารหลักในรูปต่างๆ กัน เช่น ในอเมริกากลาง และอเมริกาใต้ ใช้แป้งบดจากเมล็ดแก่มาทำเป็นแผ่นนึ่งหรือย่างให้สุก รับประทานกับอาหารอื่นคล้ายกับการรับประทานขนมปังในฟิลิปปินส์นิยมตำเมล็ดข้าวโพดแก่ ให้แตกเป็นชิ้นเล็กเท่าๆ เมล็ดข้าว แล้วต้มรับประทานแทนข้าว
ข้าวโพดสามารถส่งเสริมการย่อยสลายพีเอเอชที่ปนเปื้อนในดินเช่น ฟีแนนทรีนไพรีนได้ โดยย่อยสลายได้90%ที่ความเข้มข้นเริ่มต้น100mg/kg[1]และทนทานต่อดินที่ปนเปื้อนน้ำมันเครื่อง [2]จึงมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ฟื้นฟูดินที่ปนเปื้อนพีเอเอชและปิโตรเลียม
การแปรรูปข้าวโพดหวาน
ข้าวโพดหวานมีคุณประโยชน์มากมาย นอกจากจะใช้รับประทานเป็นผักสดแล้ว ยังสามารถนำไปแปรรูปได้หลายรูปแบบ เช่นข้าวโพดหวานบรรจุึกระป๋องทั้งฝัก หรือบรรจุ กระป๋องเฉพาะเมล็ดทำครีมข้าวโพดหวาน ข้าวโพดแช่แข็ง ซึ่งผลิตภัณฑ์ต่างๆเหล่านี้ สามารถส่งไปจำหน่ายยังตลาดต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จีน และกลุ่มประเทศ ในแถบยุโรป
ตัวอย่างการแปลรูปผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์บางชนิดที่ได้จากข้าวโพด
ซุปสีเหลือง (ข้าวโพดหวาน แครอท ฟักทองพื้นเมือง) บรรจุในกล่อง UHT ขนาด 1 ลิตร
ในประเทศนิวซีแลนด์ บริษัทไฮนซ์ได้ออกสินค้าที่อุดมด้วยใยอาหารจากข้าวโพดหวานสดนึ่งด้วยไอน้ำ บรรจุใน
แพกเกจที่สะดวกในการรับประทาน
น้ำนมข้าวโพดหวานสูตรไร่สุวรรณ ผลิตภัณฑ์ขึ้นชื่อของศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
น้ำนมข้าวโพดมาลี ไอคอร์น
ข้าวโพดทั้งฝักบรรจุถุง
บริษัทผู้ผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานจังหวัดกาญจนบุรีผลิตภัณฑ์ที่จะนำมาพัฒนา
ส่วนผสม
ข้าวโพดหวานต้มสุก 1 ถ้วย
นมถั่วเหลือง 1 1/2 ถ้วย
เซเลอรี่สับละเอียด 1 ช้อนโต๊ะ (8 กรัม)
หอมเล็กสับละเอียด 1 ช้อนชา (ประมาณ 1 หัว)
เนยจืด 1 ช้อนโต๊ะ
เกลือเล็กน้อย
น้ำเปล่า ¼ ถ้วย
พริกไทยและพาร์สลีย์สับเล็กน้อย
น้ำมันมะกอกสำหรับโรยหน้าซุปเล็กน้อย
วิธีทำ1.ปั่นข้าวโพดและนมถั่วเหลืองรวมกันจนละเอียด พักไว้
2.ผัดหอมและเซเลอรี่กับเนยจนหอมเริ่มใส แล้วใส่ส่วนผสมในข้อ1ลงไป
ปรุงรสด้วยเกลือ พริกไทย คนให้เข้ากัน ต้มจนเดือด ปิดไฟ ตักใส่ถ้วย
โรยพาร์สลีย์สับ น้ำมันมะกอก และพริกไทยเล็กน้อย
ที่มา: http://lekkathaifood.blogspot.com/2011/05/blog-post_7460.htmlประเภทที่มีจำหน่ายทั่วไป
ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋องมี
• ข้าวโพดหวานในนำ้เกลือ
• ข้าวโพดหวานในนำ้บริสุทธิ์
• ข้าวโพดหวานชนิดครีม